เคยมั้ย นอนๆอยู่ 'รู้สึกเหมือนตกจากที่สูง'
เคยมั้ย นอนๆอยู่ 'รู้สึกเหมือนตกจากที่สูง'😱
ภาวะนี้ เรียกว่า 👉อาการกระตุกขณะนอนหลับ
อาจเรียก Hypnic jerk / Hypnagogic jerk / Predormital myoclonus / Sleep start
เป็นภาวะที่พบได้ในคนปกติ
อาจเรียก Hypnic jerk / Hypnagogic jerk / Predormital myoclonus / Sleep start
เป็นภาวะที่พบได้ในคนปกติ
😁ลักษณะอาการ...
❤ มักเกิดขึ้นในช่วงที่เริ่มเคลิ้มหลับ💤
❤มีอาการเหมือนตกจากที่สูง หรือกระโดดลงจากที่สูง ทำให้รู้ตื่นชั่วขณะ ร่วมกับมีการกระตุกของกล้ามเนื้อ
❤ มักเกิดขึ้นในช่วงที่เริ่มเคลิ้มหลับ💤
❤มีอาการเหมือนตกจากที่สูง หรือกระโดดลงจากที่สูง ทำให้รู้ตื่นชั่วขณะ ร่วมกับมีการกระตุกของกล้ามเนื้อ
😁😁เป็นอาการที่เกิดขึ้นในคนปกติ😁😁
มีรายงานว่าในคนทั่วไป 60-70% เคยมีอาการแบบนี้ซักครั้งหนึ่งในชีวิต และประมาณ 10% มีอาการบ่อยครั้งแทบทุกวัน
มีรายงานว่าในคนทั่วไป 60-70% เคยมีอาการแบบนี้ซักครั้งหนึ่งในชีวิต และประมาณ 10% มีอาการบ่อยครั้งแทบทุกวัน
⁉️เกิดจากอะไร
👉มีสมมติฐานว่า เป็นตอบสนองของร่างกาย เมื่อร่างกายเริ่มหลับ จะมีความดันเลือดที่ลดลง และกล้ามเนื้อต่างๆในร่างกายคลายตัวลง ทำให้สมองแปลผลผิดเพี้ยน คิดว่าร่างกายกำลังจะตกจากที่สูง 👉 จึงเกิดการตอบสนองให้เกิดการเกร็งกระตุกของกล้ามเนื้อขึ้น
👉มีสมมติฐานว่า เป็นตอบสนองของร่างกาย เมื่อร่างกายเริ่มหลับ จะมีความดันเลือดที่ลดลง และกล้ามเนื้อต่างๆในร่างกายคลายตัวลง ทำให้สมองแปลผลผิดเพี้ยน คิดว่าร่างกายกำลังจะตกจากที่สูง 👉 จึงเกิดการตอบสนองให้เกิดการเกร็งกระตุกของกล้ามเนื้อขึ้น
⁉️ปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกี่ยวข้อง
❤ความเครียด กังวล
❤สารกระตุ้นสมอง เช่น คาเฟอีน (เช่น ชา กาแฟ เครื่องดื่มชูกำลัง น้ำอัดลม) นิโคติน (บุหรี่)
❤ การออกกำลังกายหนักๆ โดยเฉพาะช่วงเย็น
❤ความอ่อนเพลียจากการทำงาน
❤อดนอน
❤ความเครียด กังวล
❤สารกระตุ้นสมอง เช่น คาเฟอีน (เช่น ชา กาแฟ เครื่องดื่มชูกำลัง น้ำอัดลม) นิโคติน (บุหรี่)
❤ การออกกำลังกายหนักๆ โดยเฉพาะช่วงเย็น
❤ความอ่อนเพลียจากการทำงาน
❤อดนอน
⁉️มีอาการบ่อยๆ อันตรายมั้ย
♠️ต้องแยกกับของโรคอื่นๆ 🤔
ภาวะนี้ สำคัญคือจะเกิดในช่วง'เคลิ้มหลับ' คือช่วงเริ่มต้นของการนอนและ มีอาการรู้สึกเหมือนตกที่สูง และกระตุกแขนหรือขาเป็นช่วงสั้นๆ และมักไม่รบกวนการนอนหลับ
👉หากมีอาการแตกต่างจากนี้ อาจต้องแยกกับภาวะอื่นๆ เช่น อาการขากระตุกขณะนอนหลับ หรือ ภาวะขาอยู่ไม่สุข ภาวะชัก ซึ่งต้องปรึกษาแพทย์
♠️บางคนอาจมีอาการมาก จนทำให้นอนหลับยาก เพราะสะดุ้งตื่น ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ
♠️ต้องแยกกับของโรคอื่นๆ 🤔
ภาวะนี้ สำคัญคือจะเกิดในช่วง'เคลิ้มหลับ' คือช่วงเริ่มต้นของการนอนและ มีอาการรู้สึกเหมือนตกที่สูง และกระตุกแขนหรือขาเป็นช่วงสั้นๆ และมักไม่รบกวนการนอนหลับ
👉หากมีอาการแตกต่างจากนี้ อาจต้องแยกกับภาวะอื่นๆ เช่น อาการขากระตุกขณะนอนหลับ หรือ ภาวะขาอยู่ไม่สุข ภาวะชัก ซึ่งต้องปรึกษาแพทย์
♠️บางคนอาจมีอาการมาก จนทำให้นอนหลับยาก เพราะสะดุ้งตื่น ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ
⁉️จะลดการเกิดภาวะนี้ได้อย่างไร
🎈ลดการรับประทานอาหารที่มีสารกระตุ้น ดังที่กล่าวข้างต้น
🎈หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหนัก ช่วงก่อนเข้านอน
🎈ลดความเครียดและความกังวล
🎈ในรายที่มีอาการมาก จนทำให้มีปัญหานอนไม่หลับควรปรึกษาแพทย์
🎈ลดการรับประทานอาหารที่มีสารกระตุ้น ดังที่กล่าวข้างต้น
🎈หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหนัก ช่วงก่อนเข้านอน
🎈ลดความเครียดและความกังวล
🎈ในรายที่มีอาการมาก จนทำให้มีปัญหานอนไม่หลับควรปรึกษาแพทย์
ที่มา :
1. Kryger, Meir H. Principal and practice of sleep medicine. 6th ed. Philadelphia: Elsevier; 2017
2. "Complete Guide to Hypnic Jerks". Hack to Sleep: a guide to better sleep.
3. Vetrugno, Roberto; Montagna, Pasquale (2011). "Sleep-to-wake transition movement disorders".
1. Kryger, Meir H. Principal and practice of sleep medicine. 6th ed. Philadelphia: Elsevier; 2017
2. "Complete Guide to Hypnic Jerks". Hack to Sleep: a guide to better sleep.
3. Vetrugno, Roberto; Montagna, Pasquale (2011). "Sleep-to-wake transition movement disorders".
หมอไมท์ นพ.ชาญสิริ เสกสรรค์วิริยะ
Sleep Otolaryngology Fellow
Sleep Otolaryngology Fellow
Comments
Post a Comment